Skip to content
Active Kids Thailand

THAI ACP

กิจกรรมการเล่นของไทยและญี่ปุ่นที่ช่วยส่งเสริมให้เด็กไทยมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ มีทักษะและพัฒนาการที่สมวัย

โดยประยุกต์แนวคิดมาจากโครงการ Active Child Program (ACP) ของสมาคมกีฬาประเทศญี่ปุ่น

เมนูกิจกรรม ACP

คำถามที่พบบ่อย

Q1:

เด็กอายุต่างกันสามารถเล่นร่วมกันได้หรือไม่

A1:

ผู้ฝึกสอนควรพิจารณาดูว่ากิจกรรมที่จัดให้เด็กเล่นนั้น สามารถเล่นร่วมกันได้หรือไม่ หากเล่นร่วมกันได้ ควรให้เด็กได้เล่นร่วมกัน หากเห็นว่าไม่เหมาะสม ก็จำเป็นต้องแยกกัน

Q2:

การจัดกิจกรรมเล่นเป็นกลุ่มย่อยและให้เด็กเล่นเหมือนกันทุกกลุ่มควรทำอย่างไร

A2:

การแบ่งกลุ่มเล่น ไม่ได้หมายความว่าทุกกลุ่มต้องเล่น หรือต้องสนุกเหมือนกัน ทั้งนี้ ผู้ฝึกสอนสามารถให้เด็ก ๆ เลือกกิจกรรมที่แต่ละกลุ่มอยากเล่นแล้วเล่นไปพร้อม ๆ กัน แต่ต้องจัดสรรพื้นที่เล่นให้เหมาะสม ปลอดภัย และสามารถดูแลได้อย่างทั่วถึง

Q3:

เด็กนักเรียนชาย - หญิงที่เริ่มเข้าสู่ช่วงวัยรุ่น มักจะเขินอาย ไม่กล้าเล่นร่วมกันควรทำอย่างไร

A3:

หากเห็นว่าเด็กเขินอาย หรือมีการสัมผัสตัวกันมาก ควรแยกกลุ่มเล่น (เด็กญี่ปุ่นก็เหมือนเด็กไทย) แต่หากเด็กมีความสนิทสนม เล่นอยู่ในกติกาไม่เขินอาย ไม่เล่นรุนแรง ควรจะให้เล่นร่วมกัน ทั้งนี้ ผู้ฝึกสอนต้องสังเกตพฤติกรรมของเด็กว่าเป็นอย่างไร

Q4:

เด็กอายุน้อยไม่สนใจฟังกติกา หรือไม่เข้าใจกติกาการเล่นควรทำอย่างไร

A4:

ผู้ฝึกสอนต้องอธิบายให้น้อย (พูดน้อย) แต่พยายามแสดงวิธีการเล่นให้เด็ก ๆ ดูจะได้ผลดีกว่า และหากเด็กทำได้ดีควรชมเชย หรือถ้าทำไม่ได้ควรให้กำลังใจ รวมทั้งแนะนำเด็กให้เข้าใจว่าต้องมีการปรับปรุงอย่างไร เมื่อทำกิจกรรมต่อเนื่องเด็กจะเข้าใจและเรียนรู้ในการเล่นร่วมกันได้ดีขึ้น ส่วนในกรณีที่เด็กทำผิดกติกาผู้ฝึกสอนจำเป็นต้องตักเตือนทันที หรือหากเห็นว่าเล่นผิดกติกาจนอาจจะก่อให้เกิดความรุนแรงระหว่างการเล่นควรจะให้เด็กหยุดเล่นก่อน เพื่อเตือนให้ทราบแล้วจึงให้เล่นต่อได้

Q5:

กิจกรรมที่เล่นเป็นกลุ่มใหญ่ ทำให้เด็กบางส่วนได้เล่นน้อยและไม่ต่อเนื่องควรทำอย่างไร

A5:

ผู้ฝึกสอนควรสังเกตสถานการณ์ของการเล่น หากมีเพียงเด็กบางคนเท่านั้นที่สนุกกับการเล่นของตนเอง อาจทำให้ผู้เล่นคนอื่นรู้สึกเบื่อ จนทำให้ระดับของกิจกรรมทางกายลดลงขณะเล่น หากเด็กบางคนดูเหมือนว่าจะสนุกกับการเล่นของตัวเองเพียงอย่างเดียว ผู้ฝึกสอนอาจถามพวกเขาเพื่อขอเปลี่ยนวิธีการเล่น สิ่งที่สำคัญคือผู้ฝึกสอนต้องอธิบาย และกระตุ้นให้ผู้เล่นทราบถึงขอบเขตของการเล่นเพื่อให้พวกเขาร่วมสนุกไปด้วยกัน

Q6:

เด็กทำกิจกรรมไม่ได้ หรือแพ้เกมบ่อย ๆ จนเสียความมั่นใจ หรือมีความท้อควรทำอย่างไร

A6:

  1. ผู้ฝึกสอนควรสังเกตหรือสอบถามเด็ก ถึงลักษณะท่าทางหรือการเล่นที่เด็กทำไม่ได้ และให้เด็กได้ฝึกทักษะไปพร้อมกันได้ เพื่อสร้างพลังบวกให้กับเด็ก ไม่ควรแยกเด็กที่ทำไม่ได้ ให้ฝึกทักษะเพียงลำพัง เพราะจะทำให้เด็กเสียความมั่นใจ ไม่อยากทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน ๆ
  2. ส่วนกิจกรรมที่เล่นในลักษณะแข่งขัน ผู้ฝึกสอนควรให้เด็กได้เล่นอย่างน้อย 2 รอบ เพื่อให้ทีมแพ้มีโอกาสชนะบ้าง และให้กำลังใจคนที่มักจะแพ้เกมบ่อย ๆ หรือแนะนำวิธีการฝึกฝน

Q7:

เด็กทำกิจกรรมไม่ได้ หรือแพ้เกมบ่อย ๆ จนเสียความมั่นใจ หรือมีความท้อควรทำอย่างไร

A7:

  1. เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระแก้ผู้ฝึกสอน ผู้ฝึกสอนสามารถให้เด็ก ๆ เตรียมและจัดอุปกรณ์การเล่นด้วยตนเอง ในเด็กที่มีระดับที่มีความสามารถสูงขึ้น สามารถจัดให้มีคณะกรรมการ เพื่อดูแล วางแผน จัดการ การเล่นได้
  2. ผู้ฝึกสอน อาจตั้งกฎเกณฑ์สำหรับเด็ก ในการยืม - คืน อุปกรณ์การเล่นได้อย่างอิสระ
  3. นอกจากนี้ยังสามารถทำตามเคล็ดลับดังต่อไปนี้
    • จัดการเล่นที่ไม่ต้องใช้อุปรณ์มากเกินไป
    • เมื่อใดก็ตามที่โปรแกรมการเล่นจัดขึ้นที่สนามให้วาดเส้นหรือทำเครื่องหมาย เพื่อให้เด็กไม่ต้องรอคอยนานตั้งแต่ช่วงเริ่มต้นการเล่น
    • หากเป็นไปได้ ลองเปลี่ยนอุปกรณ์การเล่นให้ง่ายขึ้น เพื่อให้สามารถเตรียมตัวได้ด้วยตนเอง

Q8:

กิจกรรมที่เล่นเป็นกลุ่มใหญ่ ทำให้เด็กบางส่วนได้เล่นน้อยและไม่ต่อเนื่องควรทำอย่างไร

A8:

ผู้ฝึกสอนหากิจกรรมใหม่ ๆ ที่เด็กสามารถเล่นกันเองได้ น่าสนใจ กติกาไม่ซับซ้อน และจำนวนคนเล่นไม่มากมาให้เด็กได้ลองเล่น และผู้ฝึกสอนสามารถแบ่งเวลาในช่วงท้ายให้เด็กได้เล่นกันเอง เพื่อเด็กจะได้นำกิจกรรมที่ชอบไปเล่นต่อเองได้

Q9:

เด็กทำกิจกรรมไม่ได้ หรือแพ้เกมบ่อย ๆ จนเสียความมั่นใจ หรือมีความท้อควรทำอย่างไร

A9:

ผู้ฝึกสอนสามารถทำได้หลากหลาย เช่น

  1. ชวนเด็ก ๆ สรุปการเรียนรู้ที่ได้จากการเล่น รวมถึงเทคนิคการเล่นที่ช่วยให้เด็กมีทักษะและสามารถปรับตัวให้ทำกิจกรรมได้ดีขึ้น
  2. นำปัญหาที่เด็กเจอระหว่างเล่นมาช่วยกันหาแนวทางวิธีการแก้ไข
  3. เน้นย้ำให้เด็กเห็นความสำคัญในกติกา การเล่นร่วมกัน ไม่เอาเปรียบช่วยเหลือ รู้จักแพ้ - ชนะ - ให้อภัย - มีหัวใจที่ไม่ยอมแพ้ เป็นต้น

คำถามที่พบบ่อย

Q1:

เด็กอายุต่างกันสามารถเล่นร่วมกันได้หรือไม่

A1:

ผู้ฝึกสอนควรพิจารณาดูว่ากิจกรรมที่จัดให้เด็กเล่นนั้น สามารถเล่นร่วมกันได้หรือไม่ หากเล่นร่วมกันได้ ควรให้เด็กได้เล่นร่วมกัน หากเห็นว่าไม่เหมาะสม ก็จำเป็นต้องแยกกัน

Q2:

การจัดกิจกรรมเล่นเป็นกลุ่มย่อยและให้เด็กเล่นเหมือนกันทุกกลุ่มควรทำอย่างไร

A2:

การแบ่งกลุ่มเล่น ไม่ได้หมายความว่าทุกกลุ่มต้องเล่น หรือต้องสนุกเหมือนกัน ทั้งนี้ ผู้ฝึกสอนสามารถให้เด็ก ๆ เลือกกิจกรรมที่แต่ละกลุ่มอยากเล่นแล้วเล่นไปพร้อม ๆ กัน แต่ต้องจัดสรรพื้นที่เล่นให้เหมาะสม ปลอดภัย และสามารถดูแลได้อย่างทั่วถึง

Q3:

เด็กนักเรียนชาย - หญิงที่เริ่มเข้าสู่ช่วงวัยรุ่น มักจะเขินอาย ไม่กล้าเล่นร่วมกันควรทำอย่างไร

A3:

หากเห็นว่าเด็กเขินอาย หรือมีการสัมผัสตัวกันมาก ควรแยกกลุ่มเล่น (เด็กญี่ปุ่นก็เหมือนเด็กไทย) แต่หากเด็กมีความสนิทสนม เล่นอยู่ในกติกาไม่เขินอาย ไม่เล่นรุนแรง ควรจะให้เล่นร่วมกัน ทั้งนี้ ผู้ฝึกสอนต้องสังเกตพฤติกรรมของเด็กว่าเป็นอย่างไร

Q4:

เด็กอายุน้อยไม่สนใจฟังกติกา หรือไม่เข้าใจกติกาการเล่นควรทำอย่างไร

A4:

ผู้ฝึกสอนต้องอธิบายให้น้อย (พูดน้อย) แต่พยายามแสดงวิธีการเล่นให้เด็ก ๆ ดูจะได้ผลดีกว่า และหากเด็กทำได้ดีควรชมเชย หรือถ้าทำไม่ได้ควรให้กำลังใจ รวมทั้งแนะนำเด็กให้เข้าใจว่าต้องมีการปรับปรุงอย่างไร เมื่อทำกิจกรรมต่อเนื่องเด็กจะเข้าใจและเรียนรู้ในการเล่นร่วมกันได้ดีขึ้น ส่วนในกรณีที่เด็กทำผิดกติกาผู้ฝึกสอนจำเป็นต้องตักเตือนทันที หรือหากเห็นว่าเล่นผิดกติกาจนอาจจะก่อให้เกิดความรุนแรงระหว่างการเล่นควรจะให้เด็กหยุดเล่นก่อน เพื่อเตือนให้ทราบแล้วจึงให้เล่นต่อได้

Q5:

กิจกรรมที่เล่นเป็นกลุ่มใหญ่ ทำให้เด็กบางส่วนได้เล่นน้อยและไม่ต่อเนื่องควรทำอย่างไร

A5:

ผู้ฝึกสอนควรสังเกตสถานการณ์ของการเล่น หากมีเพียงเด็กบางคนเท่านั้นที่สนุกกับการเล่นของตนเอง อาจทำให้ผู้เล่นคนอื่นรู้สึกเบื่อ จนทำให้ระดับของกิจกรรมทางกายลดลงขณะเล่น หากเด็กบางคนดูเหมือนว่าจะสนุกกับการเล่นของตัวเองเพียงอย่างเดียว ผู้ฝึกสอนอาจถามพวกเขาเพื่อขอเปลี่ยนวิธีการเล่น สิ่งที่สำคัญคือผู้ฝึกสอนต้องอธิบาย และกระตุ้นให้ผู้เล่นทราบถึงขอบเขตของการเล่นเพื่อให้พวกเขาร่วมสนุกไปด้วยกัน

Q6:

เด็กทำกิจกรรมไม่ได้ หรือแพ้เกมบ่อย ๆ จนเสียความมั่นใจ หรือมีความท้อควรทำอย่างไร

A6:

  1. ผู้ฝึกสอนควรสังเกตหรือสอบถามเด็ก ถึงลักษณะท่าทางหรือการเล่นที่เด็กทำไม่ได้ และให้เด็กได้ฝึกทักษะไปพร้อมกันได้ เพื่อสร้างพลังบวกให้กับเด็ก ไม่ควรแยกเด็กที่ทำไม่ได้ ให้ฝึกทักษะเพียงลำพัง เพราะจะทำให้เด็กเสียความมั่นใจ ไม่อยากทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน ๆ
  2. ส่วนกิจกรรมที่เล่นในลักษณะแข่งขัน ผู้ฝึกสอนควรให้เด็กได้เล่นอย่างน้อย 2 รอบ เพื่อให้ทีมแพ้มีโอกาสชนะบ้าง และให้กำลังใจคนที่มักจะแพ้เกมบ่อย ๆ หรือแนะนำวิธีการฝึกฝน

Q7:

เด็กทำกิจกรรมไม่ได้ หรือแพ้เกมบ่อย ๆ จนเสียความมั่นใจ หรือมีความท้อควรทำอย่างไร

A7:

  1. เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระแก้ผู้ฝึกสอน ผู้ฝึกสอนสามารถให้เด็ก ๆ เตรียมและจัดอุปกรณ์การเล่นด้วยตนเอง ในเด็กที่มีระดับที่มีความสามารถสูงขึ้น สามารถจัดให้มีคณะกรรมการ เพื่อดูแล วางแผน จัดการ การเล่นได้
  2. ผู้ฝึกสอน อาจตั้งกฎเกณฑ์สำหรับเด็ก ในการยืม - คืน อุปกรณ์การเล่นได้อย่างอิสระ
  3. นอกจากนี้ยังสามารถทำตามเคล็ดลับดังต่อไปนี้
    • จัดการเล่นที่ไม่ต้องใช้อุปรณ์มากเกินไป
    • เมื่อใดก็ตามที่โปรแกรมการเล่นจัดขึ้นที่สนามให้วาดเส้นหรือทำเครื่องหมาย เพื่อให้เด็กไม่ต้องรอคอยนานตั้งแต่ช่วงเริ่มต้นการเล่น
    • หากเป็นไปได้ ลองเปลี่ยนอุปกรณ์การเล่นให้ง่ายขึ้น เพื่อให้สามารถเตรียมตัวได้ด้วยตนเอง

Q8:

กิจกรรมที่เล่นเป็นกลุ่มใหญ่ ทำให้เด็กบางส่วนได้เล่นน้อยและไม่ต่อเนื่องควรทำอย่างไร

A8:

ผู้ฝึกสอนหากิจกรรมใหม่ ๆ ที่เด็กสามารถเล่นกันเองได้ น่าสนใจ กติกาไม่ซับซ้อน และจำนวนคนเล่นไม่มากมาให้เด็กได้ลองเล่น และผู้ฝึกสอนสามารถแบ่งเวลาในช่วงท้ายให้เด็กได้เล่นกันเอง เพื่อเด็กจะได้นำกิจกรรมที่ชอบไปเล่นต่อเองได้

Q9:

เด็กทำกิจกรรมไม่ได้ หรือแพ้เกมบ่อย ๆ จนเสียความมั่นใจ หรือมีความท้อควรทำอย่างไร

A9:

ผู้ฝึกสอนสามารถทำได้หลากหลาย เช่น

  1. ชวนเด็ก ๆ สรุปการเรียนรู้ที่ได้จากการเล่น รวมถึงเทคนิคการเล่นที่ช่วยให้เด็กมีทักษะและสามารถปรับตัวให้ทำกิจกรรมได้ดีขึ้น
  2. นำปัญหาที่เด็กเจอระหว่างเล่นมาช่วยกันหาแนวทางวิธีการแก้ไข
  3. เน้นย้ำให้เด็กเห็นความสำคัญในกติกา การเล่นร่วมกัน ไม่เอาเปรียบช่วยเหลือ รู้จักแพ้ - ชนะ - ให้อภัย - มีหัวใจที่ไม่ยอมแพ้ เป็นต้น

คำถามที่พบบ่อย

Q1:

เด็กอายุต่างกันสามารถเล่นร่วมกันได้หรือไม่

A1:

ผู้ฝึกสอนควรพิจารณาดูว่ากิจกรรมที่จัดให้เด็กเล่นนั้น สามารถเล่นร่วมกันได้หรือไม่ หากเล่นร่วมกันได้ ควรให้เด็กได้เล่นร่วมกัน หากเห็นว่าไม่เหมาะสม ก็จำเป็นต้องแยกกัน

Q2:

การจัดกิจกรรมเล่นเป็นกลุ่มย่อยและให้เด็กเล่นเหมือนกันทุกกลุ่มควรทำอย่างไร

A2:

การแบ่งกลุ่มเล่น ไม่ได้หมายความว่าทุกกลุ่มต้องเล่น หรือต้องสนุกเหมือนกัน ทั้งนี้ ผู้ฝึกสอนสามารถให้เด็ก ๆ เลือกกิจกรรมที่แต่ละกลุ่มอยากเล่นแล้วเล่นไปพร้อม ๆ กัน แต่ต้องจัดสรรพื้นที่เล่นให้เหมาะสม ปลอดภัย และสามารถดูแลได้อย่างทั่วถึง

Q3:

เด็กนักเรียนชาย - หญิงที่เริ่มเข้าสู่ช่วงวัยรุ่น มักจะเขินอาย ไม่กล้าเล่นร่วมกันควรทำอย่างไร

A3:

หากเห็นว่าเด็กเขินอาย หรือมีการสัมผัสตัวกันมาก ควรแยกกลุ่มเล่น (เด็กญี่ปุ่นก็เหมือนเด็กไทย) แต่หากเด็กมีความสนิทสนม เล่นอยู่ในกติกาไม่เขินอาย ไม่เล่นรุนแรง ควรจะให้เล่นร่วมกัน ทั้งนี้ ผู้ฝึกสอนต้องสังเกตพฤติกรรมของเด็กว่าเป็นอย่างไร

Q4:

เด็กอายุน้อยไม่สนใจฟังกติกา หรือไม่เข้าใจกติกาการเล่นควรทำอย่างไร

A4:

ผู้ฝึกสอนต้องอธิบายให้น้อย (พูดน้อย) แต่พยายามแสดงวิธีการเล่นให้เด็ก ๆ ดูจะได้ผลดีกว่า และหากเด็กทำได้ดีควรชมเชย หรือถ้าทำไม่ได้ควรให้กำลังใจ รวมทั้งแนะนำเด็กให้เข้าใจว่าต้องมีการปรับปรุงอย่างไร เมื่อทำกิจกรรมต่อเนื่องเด็กจะเข้าใจและเรียนรู้ในการเล่นร่วมกันได้ดีขึ้น ส่วนในกรณีที่เด็กทำผิดกติกาผู้ฝึกสอนจำเป็นต้องตักเตือนทันที หรือหากเห็นว่าเล่นผิดกติกาจนอาจจะก่อให้เกิดความรุนแรงระหว่างการเล่นควรจะให้เด็กหยุดเล่นก่อน เพื่อเตือนให้ทราบแล้วจึงให้เล่นต่อได้

Q5:

กิจกรรมที่เล่นเป็นกลุ่มใหญ่ ทำให้เด็กบางส่วนได้เล่นน้อยและไม่ต่อเนื่องควรทำอย่างไร

A5:

ผู้ฝึกสอนควรสังเกตสถานการณ์ของการเล่น หากมีเพียงเด็กบางคนเท่านั้นที่สนุกกับการเล่นของตนเอง อาจทำให้ผู้เล่นคนอื่นรู้สึกเบื่อ จนทำให้ระดับของกิจกรรมทางกายลดลงขณะเล่น หากเด็กบางคนดูเหมือนว่าจะสนุกกับการเล่นของตัวเองเพียงอย่างเดียว ผู้ฝึกสอนอาจถามพวกเขาเพื่อขอเปลี่ยนวิธีการเล่น สิ่งที่สำคัญคือผู้ฝึกสอนต้องอธิบาย และกระตุ้นให้ผู้เล่นทราบถึงขอบเขตของการเล่นเพื่อให้พวกเขาร่วมสนุกไปด้วยกัน

Q6:

เด็กทำกิจกรรมไม่ได้ หรือแพ้เกมบ่อย ๆ จนเสียความมั่นใจ หรือมีความท้อควรทำอย่างไร

A6:

  1. ผู้ฝึกสอนควรสังเกตหรือสอบถามเด็ก ถึงลักษณะท่าทางหรือการเล่นที่เด็กทำไม่ได้ และให้เด็กได้ฝึกทักษะไปพร้อมกันได้ เพื่อสร้างพลังบวกให้กับเด็ก ไม่ควรแยกเด็กที่ทำไม่ได้ ให้ฝึกทักษะเพียงลำพัง เพราะจะทำให้เด็กเสียความมั่นใจ ไม่อยากทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน ๆ
  2. ส่วนกิจกรรมที่เล่นในลักษณะแข่งขัน ผู้ฝึกสอนควรให้เด็กได้เล่นอย่างน้อย 2 รอบ เพื่อให้ทีมแพ้มีโอกาสชนะบ้าง และให้กำลังใจคนที่มักจะแพ้เกมบ่อย ๆ หรือแนะนำวิธีการฝึกฝน

Q7:

เด็กทำกิจกรรมไม่ได้ หรือแพ้เกมบ่อย ๆ จนเสียความมั่นใจ หรือมีความท้อควรทำอย่างไร

A7:

  1. เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระแก้ผู้ฝึกสอน ผู้ฝึกสอนสามารถให้เด็ก ๆ เตรียมและจัดอุปกรณ์การเล่นด้วยตนเอง ในเด็กที่มีระดับที่มีความสามารถสูงขึ้น สามารถจัดให้มีคณะกรรมการ เพื่อดูแล วางแผน จัดการ การเล่นได้
  2. ผู้ฝึกสอน อาจตั้งกฎเกณฑ์สำหรับเด็ก ในการยืม - คืน อุปกรณ์การเล่นได้อย่างอิสระ
  3. นอกจากนี้ยังสามารถทำตามเคล็ดลับดังต่อไปนี้
    • จัดการเล่นที่ไม่ต้องใช้อุปรณ์มากเกินไป
    • เมื่อใดก็ตามที่โปรแกรมการเล่นจัดขึ้นที่สนามให้วาดเส้นหรือทำเครื่องหมาย เพื่อให้เด็กไม่ต้องรอคอยนานตั้งแต่ช่วงเริ่มต้นการเล่น
    • หากเป็นไปได้ ลองเปลี่ยนอุปกรณ์การเล่นให้ง่ายขึ้น เพื่อให้สามารถเตรียมตัวได้ด้วยตนเอง

Q8:

กิจกรรมที่เล่นเป็นกลุ่มใหญ่ ทำให้เด็กบางส่วนได้เล่นน้อยและไม่ต่อเนื่องควรทำอย่างไร

A8:

ผู้ฝึกสอนหากิจกรรมใหม่ ๆ ที่เด็กสามารถเล่นกันเองได้ น่าสนใจ กติกาไม่ซับซ้อน และจำนวนคนเล่นไม่มากมาให้เด็กได้ลองเล่น และผู้ฝึกสอนสามารถแบ่งเวลาในช่วงท้ายให้เด็กได้เล่นกันเอง เพื่อเด็กจะได้นำกิจกรรมที่ชอบไปเล่นต่อเองได้

Q9:

เด็กทำกิจกรรมไม่ได้ หรือแพ้เกมบ่อย ๆ จนเสียความมั่นใจ หรือมีความท้อควรทำอย่างไร

A9:

ผู้ฝึกสอนสามารถทำได้หลากหลาย เช่น

  1. ชวนเด็ก ๆ สรุปการเรียนรู้ที่ได้จากการเล่น รวมถึงเทคนิคการเล่นที่ช่วยให้เด็กมีทักษะและสามารถปรับตัวให้ทำกิจกรรมได้ดีขึ้น
  2. นำปัญหาที่เด็กเจอระหว่างเล่นมาช่วยกันหาแนวทางวิธีการแก้ไข
  3. เน้นย้ำให้เด็กเห็นความสำคัญในกติกา การเล่นร่วมกัน ไม่เอาเปรียบช่วยเหลือ รู้จักแพ้ - ชนะ - ให้อภัย - มีหัวใจที่ไม่ยอมแพ้ เป็นต้น

คำถามที่พบบ่อย

Q1:

เด็กอายุต่างกันสามารถเล่นร่วมกันได้หรือไม่

A1:

ผู้ฝึกสอนควรพิจารณาดูว่ากิจกรรมที่จัดให้เด็กเล่นนั้น สามารถเล่นร่วมกันได้หรือไม่ หากเล่นร่วมกันได้ ควรให้เด็กได้เล่นร่วมกัน หากเห็นว่าไม่เหมาะสม ก็จำเป็นต้องแยกกัน

Q2:

การจัดกิจกรรมเล่นเป็นกลุ่มย่อยและให้เด็กเล่นเหมือนกันทุกกลุ่มควรทำอย่างไร

A2:

การแบ่งกลุ่มเล่น ไม่ได้หมายความว่าทุกกลุ่มต้องเล่น หรือต้องสนุกเหมือนกัน ทั้งนี้ ผู้ฝึกสอนสามารถให้เด็ก ๆ เลือกกิจกรรมที่แต่ละกลุ่มอยากเล่นแล้วเล่นไปพร้อม ๆ กัน แต่ต้องจัดสรรพื้นที่เล่นให้เหมาะสม ปลอดภัย และสามารถดูแลได้อย่างทั่วถึง

Q3:

เด็กนักเรียนชาย - หญิงที่เริ่มเข้าสู่ช่วงวัยรุ่น มักจะเขินอาย ไม่กล้าเล่นร่วมกันควรทำอย่างไร

A3:

หากเห็นว่าเด็กเขินอาย หรือมีการสัมผัสตัวกันมาก ควรแยกกลุ่มเล่น (เด็กญี่ปุ่นก็เหมือนเด็กไทย) แต่หากเด็กมีความสนิทสนม เล่นอยู่ในกติกาไม่เขินอาย ไม่เล่นรุนแรง ควรจะให้เล่นร่วมกัน ทั้งนี้ ผู้ฝึกสอนต้องสังเกตพฤติกรรมของเด็กว่าเป็นอย่างไร

Q4:

เด็กอายุน้อยไม่สนใจฟังกติกา หรือไม่เข้าใจกติกาการเล่นควรทำอย่างไร

A4:

ผู้ฝึกสอนต้องอธิบายให้น้อย (พูดน้อย) แต่พยายามแสดงวิธีการเล่นให้เด็ก ๆ ดูจะได้ผลดีกว่า และหากเด็กทำได้ดีควรชมเชย หรือถ้าทำไม่ได้ควรให้กำลังใจ รวมทั้งแนะนำเด็กให้เข้าใจว่าต้องมีการปรับปรุงอย่างไร เมื่อทำกิจกรรมต่อเนื่องเด็กจะเข้าใจและเรียนรู้ในการเล่นร่วมกันได้ดีขึ้น ส่วนในกรณีที่เด็กทำผิดกติกาผู้ฝึกสอนจำเป็นต้องตักเตือนทันที หรือหากเห็นว่าเล่นผิดกติกาจนอาจจะก่อให้เกิดความรุนแรงระหว่างการเล่นควรจะให้เด็กหยุดเล่นก่อน เพื่อเตือนให้ทราบแล้วจึงให้เล่นต่อได้

Q5:

กิจกรรมที่เล่นเป็นกลุ่มใหญ่ ทำให้เด็กบางส่วนได้เล่นน้อยและไม่ต่อเนื่องควรทำอย่างไร

A5:

ผู้ฝึกสอนควรสังเกตสถานการณ์ของการเล่น หากมีเพียงเด็กบางคนเท่านั้นที่สนุกกับการเล่นของตนเอง อาจทำให้ผู้เล่นคนอื่นรู้สึกเบื่อ จนทำให้ระดับของกิจกรรมทางกายลดลงขณะเล่น หากเด็กบางคนดูเหมือนว่าจะสนุกกับการเล่นของตัวเองเพียงอย่างเดียว ผู้ฝึกสอนอาจถามพวกเขาเพื่อขอเปลี่ยนวิธีการเล่น สิ่งที่สำคัญคือผู้ฝึกสอนต้องอธิบาย และกระตุ้นให้ผู้เล่นทราบถึงขอบเขตของการเล่นเพื่อให้พวกเขาร่วมสนุกไปด้วยกัน

Q6:

เด็กทำกิจกรรมไม่ได้ หรือแพ้เกมบ่อย ๆ จนเสียความมั่นใจ หรือมีความท้อควรทำอย่างไร

A6:

  1. ผู้ฝึกสอนควรสังเกตหรือสอบถามเด็ก ถึงลักษณะท่าทางหรือการเล่นที่เด็กทำไม่ได้ และให้เด็กได้ฝึกทักษะไปพร้อมกันได้ เพื่อสร้างพลังบวกให้กับเด็ก ไม่ควรแยกเด็กที่ทำไม่ได้ ให้ฝึกทักษะเพียงลำพัง เพราะจะทำให้เด็กเสียความมั่นใจ ไม่อยากทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน ๆ
  2. ส่วนกิจกรรมที่เล่นในลักษณะแข่งขัน ผู้ฝึกสอนควรให้เด็กได้เล่นอย่างน้อย 2 รอบ เพื่อให้ทีมแพ้มีโอกาสชนะบ้าง และให้กำลังใจคนที่มักจะแพ้เกมบ่อย ๆ หรือแนะนำวิธีการฝึกฝน

Q7:

การเบิกจ่ายอุปกรณ์การเล่นให้กับเด็กเป็นภาระให้กับผู้ฝึกสอนควรทำอย่างไร

A7:

  1. เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระแก้ผู้ฝึกสอน ผู้ฝึกสอนสามารถให้เด็ก ๆ เตรียมและจัดอุปกรณ์การเล่นด้วยตนเอง ในเด็กที่มีระดับที่มีความสามารถสูงขึ้น สามารถจัดให้มีคณะกรรมการ เพื่อดูแล วางแผน จัดการ การเล่นได้
  2. ผู้ฝึกสอน อาจตั้งกฎเกณฑ์สำหรับเด็ก ในการยืม - คืน อุปกรณ์การเล่นได้อย่างอิสระ
  3. นอกจากนี้ยังสามารถทำตามเคล็ดลับดังต่อไปนี้
    • จัดการเล่นที่ไม่ต้องใช้อุปรณ์มากเกินไป
    • เมื่อใดก็ตามที่โปรแกรมการเล่นจัดขึ้นที่สนามให้วาดเส้นหรือทำเครื่องหมาย เพื่อให้เด็กไม่ต้องรอคอยนานตั้งแต่ช่วงเริ่มต้นการเล่น
    • หากเป็นไปได้ ลองเปลี่ยนอุปกรณ์การเล่นให้ง่ายขึ้น เพื่อให้สามารถเตรียมตัวได้ด้วยตนเอง

Q8:

เด็กจะเล่นเฉพาะในช่วงเวลาที่ผู้ฝึกสอนจัดกิจกรรมให้ แต่ไม่ได้นำกิจกรรมไปเล่นกันเองในช่วงเวลาอื่น ๆ ควรทำอย่างไร

A8:

ผู้ฝึกสอนหากิจกรรมใหม่ ๆ ที่เด็กสามารถเล่นกันเองได้ น่าสนใจ กติกาไม่ซับซ้อน และจำนวนคนเล่นไม่มากมาให้เด็กได้ลองเล่น และผู้ฝึกสอนสามารถแบ่งเวลาในช่วงท้ายให้เด็กได้เล่นกันเอง เพื่อเด็กจะได้นำกิจกรรมที่ชอบไปเล่นต่อเองได้

Q9:

เด็กทำกิจกรรมไม่ได้ หรือแพ้เกมบ่อย ๆ จนเสียความมั่นใจ หรือมีความท้อควรทำอย่างไร

A9:

ผู้ฝึกสอนสามารถทำได้หลากหลาย เช่น

  1. ชวนเด็ก ๆ สรุปการเรียนรู้ที่ได้จากการเล่น รวมถึงเทคนิคการเล่นที่ช่วยให้เด็กมีทักษะและสามารถปรับตัวให้ทำกิจกรรมได้ดีขึ้น
  2. นำปัญหาที่เด็กเจอระหว่างเล่นมาช่วยกันหาแนวทางวิธีการแก้ไข
  3. เน้นย้ำให้เด็กเห็นความสำคัญในกติกา การเล่นร่วมกัน ไม่เอาเปรียบช่วยเหลือ รู้จักแพ้ - ชนะ - ให้อภัย - มีหัวใจที่ไม่ยอมแพ้ เป็นต้น

คำถามที่พบบ่อย

เด็กอายุต่างกันสามารถเล่นร่วมกันได้หรือไม่

ผู้ฝึกสอนควรพิจารณาดูว่ากิจกรรมที่จัดให้เด็กเล่นนั้น สามารถเล่นร่วมกันได้หรือไม่ หากเล่นร่วมกันได้ ควรให้เด็กได้เล่นร่วมกัน หากเห็นว่าไม่เหมาะสม ก็จำเป็นต้องแยกกัน

การแบ่งกลุ่มเล่น ไม่ได้หมายความว่าทุกกลุ่มต้องเล่น หรือต้องสนุกเหมือนกัน ทั้งนี้ ผู้ฝึกสอนสามารถให้เด็ก ๆ เลือกกิจกรรมที่แต่ละกลุ่มอยากเล่นแล้วเล่นไปพร้อม ๆ กัน แต่ต้องจัดสรรพื้นที่เล่นให้เหมาะสม ปลอดภัย และสามารถดูแลได้อย่างทั่วถึง

หากเห็นว่าเด็กเขินอาย หรือมีการสัมผัสตัวกันมาก ควรแยกกลุ่มเล่น (เด็กญี่ปุ่นก็เหมือนเด็กไทย) แต่หากเด็กมีความสนิทสนม เล่นอยู่ในกติกาไม่เขินอาย ไม่เล่นรุนแรง ควรจะให้เล่นร่วมกัน ทั้งนี้ ผู้ฝึกสอนต้องสังเกตพฤติกรรมของเด็กว่าเป็นอย่างไร

ผู้ฝึกสอนต้องอธิบายให้น้อย (พูดน้อย) แต่พยายามแสดงวิธีการเล่นให้เด็ก ๆ ดูจะได้ผลดีกว่า และหากเด็กทำได้ดีควรชมเชย หรือถ้าทำไม่ได้ควรให้กำลังใจ รวมทั้งแนะนำเด็กให้เข้าใจว่าต้องมีการปรับปรุงอย่างไร เมื่อทำกิจกรรมต่อเนื่องเด็กจะเข้าใจและเรียนรู้ในการเล่นร่วมกันได้ดีขึ้น ส่วนในกรณีที่เด็กทำผิดกติกาผู้ฝึกสอนจำเป็นต้องตักเตือนทันที หรือหากเห็นว่าเล่นผิดกติกาจนอาจจะก่อให้เกิดความรุนแรงระหว่างการเล่นควรจะให้เด็กหยุดเล่นก่อน เพื่อเตือนให้ทราบแล้วจึกให้เล่นต่อได้

ผู้ฝึกสอนควรสังเกตสถานการณ์ของการเล่น หากมีเพียงเด็กบางคนเท่านั้นที่สนุกกับการเล่นของตนเอง อาจทำให้ผู้เล่นคนอื่นรู้สึกเบื่อ จนทำให้ระดับของกิจกรรมทางกายลดลงขณะเล่น หากเด็กบางคนดูเหมือนว่าจะสนุกกับการเล่นของตัวเองเพียงอย่างเดียว ผู้ฝึกสอนอาจถามพวกเขาเพื่อขอเปลี่ยนวิธีการเล่น สิ่งที่สำคัญคือผู้ฝึกสอนต้องอธิบาย และกระตุ้นให้ผู้เล่นทราบถึงขอบเขตของการเล่นเพื่อให้พวกเขาร่วมสนุกไปด้วยกัน

  1. ผู้ฝึกสอนควรสังเกตหรือสอบถามเด็ก ถึงลักษณะท่าทางหรือการเล่นที่เด็กทำไม่ได้ และให้เด็กได้ฝึกทักษะไปพร้อมกันได้ เพื่อสร้างพลังบวกให้กับเด็ก ไม่ควรแยกเด็กที่ทำไม่ได้ ให้ฝึกทักษะเพียงลำพัง เพราะจะทำให้เด็กเสียความมั่นใจ ไม่อยากทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน ๆ
  2. ส่วนกิจกรรมที่เล่นในลักษณะแข่งขัน ผู้ฝึกสอนควรให้เด็กได้เล่นอย่างน้อย 2 รอบ เพื่อให้ทีมแพ้มีโอกาสชนะบ้าง และให้กำลังใจคนที่มักจะแพ้เกมบ่อย ๆ หรือแนะนำวิธีการฝึกฝน
  1. เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระแก้ผู้ฝึกสอน ผู้ฝึกสอนสามารถให้เด็ก ๆ เตรียมและจัดอุปกรณ์การเล่นด้วยตนเอง ในเด็กที่มีระดับที่มีความสามารถสูงขึ้น สามารถจัดให้มีคณะกรรมการ เพื่อดูแล วางแผน จัดการ การเล่นได้
  2. ผู้ฝึกสอน อาจตั้งกฎเกณฑ์สำหรับเด็ก ในการยืม – คืน อุปกรณ์การเล่นได้อย่างอิสระ
  3. นอกจากนี้ยังสามารถทำตามเคล็ดลับดังต่อไปนี้
    • จัดการเล่นที่ไม่ต้องใช้อุปรณ์มากเกินไป
    • เมื่อใดก็ตามที่โปรแกรมการเล่นจัดขึ้นที่สนามให้วาดเส้นหรือทำเครื่องหมาย เพื่อให้เด็กไม่ต้องรอคอยนานตั้งแต่ช่วงเริ่มต้นการเล่น
    • หากเป็นไปได้ ลองเปลี่ยนอุปกรณ์การเล่นให้ง่ายขึ้น เพื่อให้สามารถเตรียมตัวได้ด้วยตนเอง

ผู้ฝึกสอนหากิจกรรมใหม่ ๆ ที่เด็กสามารถเล่นกันเองได้ น่าสนใจ กติกาไม่ซับซ้อน และจำนวนคนเล่นไม่มากมาให้เด็กได้ลองเล่น และผู้ฝึกสอนสามารถแบ่งเวลาในช่วงท้ายให้เด็กได้เล่นกันเอง เพื่อเด็กจะได้นำกิจกรรมที่ชอบไปเล่นต่อเองได้

ผู้ฝึกสอนสามารถทำได้หลากหลาย เช่น

  1. ชวนเด็ก ๆ สรุปการเรียนรู้ที่ได้จากการเล่น รวมถึงเทคนิคการเล่นที่ช่วยให้เด็กมีทักษะและสามารถปรับตัวให้ทำกิจกรรมได้ดีขึ้น
  2. นำปัญหาที่เด็กเจอระหว่างเล่นมาช่วยกันหาแนวทางวิธีการแก้ไข
  3. เน้นย้ำให้เด็กเห็นความสำคัญในกติกา การเล่นร่วมกัน ไม่เอาเปรียบช่วยเหลือ รู้จักแพ้ – ชนะ – ให้อภัย – มีหัวใจที่ไม่ยอมแพ้ เป็นต้น